[19 เม.ย. 61 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์] สมาพันธ์เกษตรอินทรีย์ไทย พีจีเอส ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ MOU กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ด้วยระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม (...
ข่าวสารอัพเดท
ความเคลื่อนไหวอื่นๆ
-
หลังจากออกข้อกำหนดมาตรฐานฉบับแรกในปี 2556 (กรีนเนทได้แปลเอกสารนี้ไว้แล้ว ไปดูได้ที่ link) และได้นำมาใช้ในการตรวจรับรององค์กรแฟร์เทรด ที่เป็นสมาชิกขององค์กรแฟร์เทรดโลก (World Fair Trade Organization - WFTO) มาได้ระยะหนึ่ง จึงได้มีการปรับปรุงข้อกำหนดมาตรฐานใหม่ประกอบด้วย 5 หมวด คือ1) เกริ่นนำ...
-
เป็นเอกสารสั้นๆ ที่อธิบายถึงแนวทางในการกำหนดนโยบายด้านชุมชนรับรองเกษตรอินทรีย์ โดยในเนื้อหาประกอบด้วย ก) PGS คืออะไร และทำไมควรต้องสนับสนุนข) ปัญหาความท้าทายของนโยบายของรัฐต่อระบบ PGSค) ข้อเสนอแนะทางนโยบาย ที่มีหลักการพื้นฐาน 5 ข้อ คือ1. ส่งเสริม ไม่ใช่ควบคุม...
-
รายงานประจำปีเกี่ยวกับสถานการณ์เกษตรอินทรีย์โลก รวมทั้งข้อมูลสถิติล่าสุด (ข้อมูลปี 2559) โดยในด้านการผลิต มีเกษตรกรกว่า 2.7 ล้านครอบครัวทั่วโลกที่ทำการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์ โดยมีพื้นที่รวมกันกว่า 361.25 ล้านไร่ ซึ่งประเทศที่มีผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์มากที่สุด 3 ลำดับแรก คือ อินเดีย ยูกานดา...
-
ขององค์กรอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ United Nations Food and Agriculture Organization (UN FAO) มีระยะเวลาดำเนินงาน 26 เดือน (ต.ค. 58 - ธ.ค. 60) เพื่อสนับสนุนภาครัฐและเอกชนในประเทศลาว กัมพูชา...
-
โครงการนี้เป็นโครงการย่อยของ โครงการพัฒนาการท่องเที่ยว การเกษตร และขีดความสามารถในการส่งออกแบบยั่งยืนในประเทศลาว ระยะที่ 2 ภายใต้การสนับสนุนของ United Nations Office for Project Services (UNOPS)...
-
เป็นหนึ่งในกิจกรรมของโครงการพัฒนาการท่องเที่ยว การเกษตร และขีดความสามารถในการส่งออกแบบยั่งยืนในประเทศลาว ระยะที่ 2...
-
1) มาตรฐานบังคับคืออะไรกฏระเบียบมกอช. มีอำนาจ (ตาม พรบ. มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551) ในการออกมาตรฐานสำหรับสินค้าเกษตรและอาหาร โดยอาจทำเป็นมาตรฐานทั่วไปหรือมาตรฐานบังคับ ซึ่งความแตกต่างระหว่างมาตรฐาน 2 ประเภทนี้ ก็คือ วัตถุประสงค์ในการใช้ ...
-
ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2558 มีการเผยแพร่เอกสารกึ่งวิชาการ “ปลูกพืชอินทรีย์ไม่ดีอย่างที่คิด ปลูกพืชปลอดภัยจากสารพิษดีกว่าไหม” ที่เขียนโดยศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. อำนาจ สุวรรณฤทธิ์ และจัดพิมพ์โดยภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน...
-
ปัจจัยสำคัญของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในการเพาะปลูกพืชมีอยู่ 6 ปัจจัยสำคัญ คือ (1) ชนิดของปุ๋ยที่ใช้ (2) การจัดการน้ำในแปลงเพาะปลูก (3) การจัดการอินทรียวัตถุในไร่นา (4) การจัดการหน้าดิน โดยเฉพาะการไถพรวน (5) การใช้พลังงานฟอสซิลในแปลง และ (6)...